สาเหตุ :
เกิดจากความบกพร่องของสารเคมี
ในปัจุบันพบว่าเด็กวัยเรียนทั่
จะสังเกตุได้จากอาการเหล่านี้ :
1. อยู่ไม่นิ่ง ซน ยุกยิก มืออยู่ไม่สุข อยู่นิ่งไม่ได้ต้องขยับตลอดนั่
2. ขาดสามธิจดจอ ไม่มีสมาธิ ไม่อดทนพอที่จะทำสิ่งนั้นๆ เหม่อลอย ขี้ลืม
3. เป็นทั้งสองอย่างควบคู่กัน
การรักษา :
1. รักษาโดยการทำกิจกรรมบำบัด ปรับพฤติกรรม
2. การรักษาด้วยยา โดยตัวยาจะเข้าไปกระตุ้นให้
3. คุณพ่อคุณแม่เรียนรู้ในการปรั
เกณฑ์การวินิจฉัยซึ่
A. อาการที่บ่งชี้ว่าลูกขาดสมาธิ
– ไม่สามารถจดจ่อทำการบ้านหรื
– ไม่สามารถคงความสนใจกิจกรรมหรื
– ไม่ฟังว่าใครพูดอะไรได้บ่อยๆ
– ไม่ทำตามคำสั่งหรือคำแนะนำเรื่
– ไม่สามารถจัดลำดับก่อนหลังหรื
– หลงหรือไม่ชอบงาน ซึ่งต้องใช้ความตั้งใจบ่อยๆ
– ทำอุปกรณ์ เช่น ดินสอ สมุด ยางลบ ของเล่น หายบ่อยๆ
– ลืมทำกิจวัตรประจำวันบ่อย
– มีสิ่งกระตุ้นจากภายนอกเล็กน้อย ก็หันเหความสนใจจากงานไปได้อย่
B. อาการบ่งชี้ว่าลูกอยู่ไม่สุข ห้ามใจตัวเองไม่ได้ อย่างน้อย 6 เดือน
– ยุกยก ขยับตัว ขยับเท้า
– ลุกจากเก้าอี้ เดินไปมาในห้องเรียน
– วิ่งเล่นปีนป่ายในเวลาสถานที่ที
– ไม่สามารถเล่นหรือทำงานอดิ
– อยู่นิ่งๆ ไม่ได้
– พูดมาก พูดโพล้ง
– รีบตอบคำถามทั้งๆ ที่ คำตอบยังไม่จบ
– รอคอย เข้าคิวไม่ได้
– ชอบแหย่หรือยุ่งกับคนอื่น
อาการทั้งหมดต้องเกิดก่อนอายุ 12 ปี มีอาการอย่างน้อย 2 สถานที่ขึ้นไป เช่น ที่โรงเรียนและที่บ้าน
คุณพ่อคุณแม่ลองเช็คดูอาการดังกล่าวดูนะครับ และช่วยลูกเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤตื กรรมาจจะรักษาลูกได้เองก็ได้ นะครับ
ขอบคุณข้อมูลจาก วารสารเผยแพร่ความรู้ รพ.วิภาวดี (มค.-มีค. 2559)